พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
เหรียญหล่อมหาเท...
เหรียญหล่อมหาเทพเทวศิลป์พิมพ์ใหญ่เนื้อสัมฤทธิ์ชุบทองออกวัดถ่ำเขาน้อยเกสโรโดยพระอาจารย์อรรณพ กนฺตสีโลอ.บ้านลาดจ.เพชรบุรี
พระพรหม
เทพเจ้าในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ
พระพรหม (สันสกฤต: ब्रह्मा พฺรหฺมา; อังกฤษ: Brahma; เตลูกู: బ్రహ్మ; ) เป็นเทพเจ้าสูงสุด (ตรีมูรติ) ในคติของศาสนาฮินดู เป็นเทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ ความเมตตา เป็นพระผู้สร้างโลกและให้กำเนิดสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล และให้กำเนิดคัมภีร์พระเวท
พระพรหมการสร้างสรรค์, สติปัญญา และ พระเวทส่วนหนึ่งของ ตรีมูรติเทวรูปพระพรหมที่แพร่หลายในประเทศไทย ซึ่งถอดแบบมาจากเทวรูปของศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณชื่ออื่นเวทนาถ, คยเนศวร, จตุรมุข, สวายัมพูชื่อในอักษรเทวนาครีब्रह्मชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตBrahmaส่วนเกี่ยวข้องปรพรหมัน, ตรีมูรติ, เทวะ,วิมานพรหมโลกมนตร์।। ॐ वेदात्मनाय विद्महे हिरण्यगर्भाय धीमही तन्नो ब्रह्मा प्रचोदयात् ।।
(โอม เวทาตมนายะ วิทมะหิ หิรัญญะครรภายะ ธีมาหิ ตันโน พรหมา ปรโกทยาตะ), โอม พรหมยะ นะมะอาวุธBrahmastra, Brahmashirsha astra, Brahmanda astraสัญลักษณ์พระเวทพาหนะหงส์ นามว่า หงสกุมาร/หงสราชเทศกาลKartik Purnima, Srivari Brahmotsavamข้อมูลส่วนบุคคลคู่ครองพระสุรัสวดี (พระอัครมเหสี) และ คยาตรี (ตาม สกันทปุราณะ)บุตร - ธิดาพระมนู, จตุรกุมาร, Narada, Daksha, Marichi ฯลฯพี่น้องพระลักษมี (ตาม สกันทปุราณะ)พระพรหมมีสี่พักตร์ พระศอสวมลูกประคำ พระหัตถ์แต่ละข้างถือดอกบัว, คัมภีร์ และหม้อน้ำ มีพาหนะเป็นหงส์หรือห่าน พระชายาคือพระสุรัสวดี เทพีแห่งศิลปะวิทยาการและความรอบรู้ในคัมภีร์มัตสยาปุราณะเล่าว่า พระพรหมเดิมทีมีถึงห้าพักตร์ การที่มีห้าพักตร์เกิดจาก การที่พระพรหมให้ได้กำเนิดผู้หญิงนางหนึ่งชื่อ ศตรูป ขึ้นมา ความงามของศตรูปทำให้พระองค์หลงใหล เมื่อศตรูปนี้เคลื่อนไปทางใด พระพรหมก็จะหันพระพักตร์เพื่อมองตามไปด้วย แต่ว่ามีครั้งหนึ่งที่พระพรหมไปดูแคลนพระศิวะเข้า ทำให้พระศิวะพิโรธ และใช้ไฟบรรลัยกัลป์จากพระเนตรที่สามที่กลางพระนลาฏเผาพระพักตร์ที่อยู่ด้านบนเศียรของพระพรหม จนเหลือเพียงสี่พักตร์ แต่อีกความเชื่อหนึ่งเล่าว่า เพราะพักตร์ด้านบนของพระพรหมนั้นเจิดจรัสมาก ทำให้พวกสุระและอสุระทนไม่ได้ จึงขอร้องให้พระศิวะเป็นผู้ตัดให้และยังเชื่อด้วยว่าพระพรหมเป็นผู้สร้างบุคคลในวรรณะต่าง ๆ จากอวัยวะแต่ละส่วน ได้แก่ พราหมณ์เกิดจากพระโอษฐ์, กษัตริย์เกิดจากอก, แพศย์เกิดจากท้อง และศูทรเกิดจากเท้า
ตามมติของพราหมณาจารย์แต่โบราณกล่าวถึงตำราพรหมชาติ ว่าเป็นตำราที่มาจากพรหม ตำราพุทธลักษณะที่ฤษีแต่งไว้ก็มาจากพรหม เหตุที่รู้เห็นถึงพุทธลักษณะได้เพราะพรหมเป็นผู้มีอายุยืนและได้รู้เห็นเรื่องราวต่าง ๆ อยู่ตลอดกาลนาน เมื่อเวลาพราหมณ์หนุ่มเที่ยวสืบหาที่เรียนและทำความเคารพนบนอบในผู้เฒ่าผู้แก่อยู่นั้น พระพรหมเห็นแก่ความกรุณา พอทราบเรื่อง จึงได้แปลงเพศมาเป็นพราหมณ์ฤษีแล้วบอกวิชา ทั้งเรื่องมนต์ ไสยเวท ตำราพยากรณ์ ตำราดูลักษณะของหมอดู ต่าง ๆนั้นเองพราหมณ์จึงถือว่ามาจากพรหม และจึงได้นับถือกันว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์มีความงดงาม แม้คัมภีร์ปิงคละดาบส ตำราโตลกจือโหราศาสตร์จีน ถึงตลอดคัมภีร์โหราศาสตร์ในรุ่นหลัง ๆ ก็ได้กล่าวว่าได้มาแต่ฤษีและเทวะบันดาล อาจารย์ผู้ที่เรียนรู้ไว้ต่างกล่าวถึงสิ่งมงคลนี้ในทำนองเดียวกันในคติของชาวไทยที่รับคติความเชื่อจากศาสนาพรหมณ์-ฮินดู เชื่อว่าพระพรหมเป็นผู้ลิขิต ชะตาชีวิตของบุคคลต่าง ๆ ตั้งแต่เกิดจนตาย เรียกว่า "พรหมลิขิต" และผู้ใดที่บูชาพระพรหมอยู่เป็นนิจ พระองค์จะประทานพรให้สมหวัง เรียกว่า "พรพรหม" หรือ "พรหมพร"[1] และยังเป็นเทพประจำทิศเบื้องบนอีกด้วย[5]
ด้วยเหตุดังนี้ พระพรหมจึงมีพระนามต่าง ๆ อาทิ "พรหมธาดา" หรือ "ประชาบดี" (ผู้สร้าง), "หงสรถ" หรือ "หงสวาหน" (ผู้มีหงส์เป็นพาหนะ), "จตุรพักตร์" (ผู้มีสี่หน้า), "ปรเมษฐ์" (ผู้ประเสริฐ) เป็นต้น ส่วนในลิลิตโองการแช่งน้ำเรียกว่า "ขุนหงส์ทองเกล้าสี่โดยความหมายของคำว่า "พรหม" หมายถึง "ความเจริญ, ความกว้างขวาง, ความขยายตัว หรือความเบิกบาน" ดังนั้นตามคติและวัตรปฏิบัติต่าง ๆ ทั้งในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพุทธศาสนาจึงมีคำว่า พรหม ประกอบคำศัพท์ เช่น "พรหมจรรย์", "พรหมบุตร" หรือ "พรหมวิหาร 4" เป็นต้น พระวิษณุ
เทพผู้ปกป้องโลกในศาสนาฮินดู
พระวิษณุ (สันสกฤต: विष्णु วิษฺณุ) หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พรนารายณ์ (สันสกฤต: नारायण นารายณ) เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง ๓ โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี ๔ กร ถือ สังข์ จักรสุทรรศน์ คทาเกาโมทกี แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ"ประทานพร")
พระวิษณุ
ชื่อในอักษรเทวนาครีविष्णुชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตViṣṇuอาวุธจักรสุทรรศน์ สังข์ คทาเกาโมทกีดอกบัวพาหนะครุฑคู่ครองพระแม่ลักษมีพระแม่ภูมีโดยปรกติ พระวิษณุ จะทรงประทับอยู่ที่เกษียรสมุทร โดยส่วนมากจะบรรทมอยู่บนหลังพญาอนันตนาคราช โดยมีพระชายาคือพระแม่ลักษมีมหาเทวี คอยฝ้าดูแลปรนิบัติอยู่ข้าง ๆ เสมอ พาหนะของพระวิษณุคือ พญาครุฑพระวิษณุ มีอีกพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า "หริ" แปลว่าผู้ดูแลแห่งจักรวาลถือเป็นเทพสูงสุด เพราะทุกอย่างเกิดจาก "หริ" โดย"หริ"ได้แบ่งตนเองออกเป็น ๓ คือ
พระพรหม มีหน้าที่สร้างและลิขิตสรรพสิ่งทั้งปวงในทั้งสามโลก
พระวิษณุ หรือ พระหริ มีหน้าที่ดูแลทั้งสามโลกให้อยู่ในความเรียบร้อย และสมดุล
พระศิวะ มีหน้าที่ทำลายสิ่งที่ไม่ดีทั้งหลายทั้งปวงในโลกทั้งสาม
ในคัมภีร์ของลัทธิไวษณพ (นับถือพระวิษณุเป็นใหญ่) กล่าวว่าเมื่อยามที่พระวิษณุผู้เป็นใหญ่แห่งจักรวาลมีประสงค์จะสร้างโลกทั้ง ๓ นั้น ท่านได้เห็นว่าการสร้างโลกทั้ง ๓ นี้ เป็นงานที่หนักสำหรับคนเพียงคนเดียว ท่านจึงแบ่งบางส่วนของร่างกายพระองค์ออกเป็นมหาเทพทั้ง ๓ พระองค์ โดยแขนซ้ายเป็นพระพรหม แขนขวาเป็นพระศิวะ และส่วนอกเป็น พระวิษณุ (แม้แต่ในรูปตรีมูรติ ก็จะเห็นว่า พระพักตร์ของพระวิษณุจะอยู่ตรงกลางเสมอ)
ส่วนในคัมภีร์ของลัทธิไศวะ (นับถือพระศิวะเป็นใหญ่) จะกล่าวต่างออกไปคือ “พระปรเมศวร” (พระศิวะ) เป็นผู้สร้างพระวิษณุ เนื่องจากมีพระประสงค์จะสร้างสวรรค์และโลก ซึ่งถือว่าเป็นงานใหญ่ จึงได้ทรงต้องการผู้ช่วย โดยการนำหัตถ์ซ้ายมาลูบหัตถ์ขวา จึงบังเกิดเป็นเทพชื่อ “พระวิษณุ” หรือ “พระนารายณ์” พระปรเมศวร ได้สอนศิลปะด้านต่าง ๆ ให้กับพระวิษณุ ในทุกด้าน และให้ประทับอยู่ ณ เกษียรสมุทร เมื่อเกิดเหตุร้ายในโลกมนุษย์ หรือสวรรค์เมื่อใด พระวิษณุก็จะมีหน้าที่ไปปราบปรามเหล่าอสูร และผู้ประสงค์ร้ายนั้น ๆ โดยในบางคราวก็จะได้รับการร้องขอจากเหล่าเทพเทวดาบ้าง
คัมภีร์มหาภารตะ เล่าไว้ถึงพระนารายณ์ว่าแต่เดิมคือฤๅษีตนหนึ่ง เป็นบุตรของฤๅษีธรรมะ ได้เดินทางจากโลกมนุษย์ ไปสู่สถานที่ของพวกพราหมณ์พร้อมเพื่อนสนิทนามว่า “นร” เพื่อบำเพ็ญเพียรจนได้รับการเคารพบูชาจากเทพเทวดาทั้งมวล ต่อมาได้รับการขอร้องจากเหล่าเทวดาให้ช่วยปราบอสูรที่สร้างความเดือดร้อน ฤๅษีทั้งสองจึงได้รับปากช่วยเหลือโดยได้ออกรบกับอสูรจนได้รับชัยชนะ จึงได้รับความเคารพนับถือจากเหล่าเทวดายิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อน จนภายหลังฤๅษีนารายณ์ได้ออกเดินทางไปบำเพ็ญตนยังหิมาลัยจนบรรลุผลเป็นพราหมณ์ (ผู้รู้แจ้งทุกสิ่งในโลก) และได้เป็นผู้นำเหล่าพราหมณ์ในเวลาต่อมา จากการยกย่องบูชาตลอดที่ผ่านมาจนเป็นที่รู้จักในนาม “พระวิษณุ (นารายณ์) ”
พระนามของพระวิษณุ พระนารายณ์ มีผู้ขนานนามเรียกขานจากความแตกต่างกันตามความเชื่อ พระนามตามฤทธิ์อำนาจ และตามเหตุการณ์ที่ต่างกันตามกาล อาทิ อนันตะ ไม่สิ้นสุด จตุรภุช มี ๔ กร มุราริ เป็นศัตรูแห่งมุระ นระ (นะระ) ผู้ชาย นารายณ์ ผู้ที่เคลื่อนไปในน้ำ ปัญจายุทธ พระผู้ทรงอาวุธทั้ง ๕ อย่าง ปีตามพร ทรงเครื่องสีเหลือง ทโมทร มีเชือกพันเอาไว้รอบเอว กฤษณะ, โควินทะ, โคบาล ผู้เลี้ยงวัว ชลศายิน ผู้นอนเหนือน้ำ พระพิษณุหริ ผู้สงวน อนันตไศยน นอนบนอนัตนาคราช ลักษมีบดี ผู้เป็นสามีของพระลักษมี วิษว์บวร ผู้คุ้มครองโลก สวยภู เกิดเอง เกศวะ มีผมอันงาม กิรีติน ผู้ใส่มงกุฎ พระวิษณุ พระนารายณ์ ทรงประทับบนสวรรค์ เรียก ไวกูณฐ์ พาหนะ คือครุฑ พระวรกายสีนิล ฉลองดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎ อาภรณ์สีเหลือง มี ๔ กร ถือ สังข์ จักร ตรี คทา บ้างก็กล่าวไว้ว่าทรงถือ ดอกบัว ลูกศร ดอกไม้ หรือเชือกบ่วงบาศ หรือสายฟ้า อาวุธประจำที่ใช้ คือ สังข์ จักร คทา ธนู และพระขรรค์
พระพิฆเนศ
เทพเจ้าฮินดูที่มีพระเศียรเป็นช้างพระ พระนามอื่นที่พบ เช่น พระพิฆเณศวร พระพิฆเณศวร์ หรือ พระคณปติ เป็นเทวดาในศาสนาฮินดูที่ได้รับการเคารพบูชาอย่างแพร่หลายที่สุดมีการเคารพอย่างแพร่หลายทั้งในอินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, ฟิจิ, ไทย, บาหลี, บังคลาเทศ นิกายในศาสนาฮินดูทุกนิกายล้วนเคารพบูชาพระคเณศ ไม่ได้จำกัดเฉพาะในคาณปัตยะเท่านั้น และการบูชาพระคเณศยังพบในพุทธและไชนะอีกด้วย
พระพิฆเนศเทพเจ้าแห่งการเริ่มต้นใหม่, ความสำเร็จ และสติปัญญาพระผู้ขจัดอุปสรรคชื่อในอักษรเทวนาครีगणेशःชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตGaṇeśaส่วนเกี่ยวข้องเทวะ, พระพรหม (คณปัตยะ), สคุณพรหมัน (ปัญจยาตนบูชา), พระอิศวรวิมานเขาไกรลาศ (เคียงพระศิวะและพระปารวตี), คเนศโลกมนตร์โอม ศรีคเณศายะ นะมะโอม คัม คณปัตยะ นะมะ
(Oṃ Shri Gaṇeśāya Namaḥ
Oṃ Gaṃ Gaṇapataye Namaḥ)อาวุธปรศุ (ขวาน), ปาศ (บาศ), อัณกุศ (ประตักช้าง)สัญลักษณ์โอม, ขนมโมทกะพาหนะหนูคัมภีร์คเนศปุราณะ, มุทคลปุราณะ, คณปติอัฐรวศีรษะเพศบุรุษเทศกาลคเนศจตุรถีข้อมูลส่วนบุคคลคู่ครอง

พุทธิ (ปัญญา)

ฤทธิ (ความเจริญ)

สิทธิ (ความสำเร็จ)

บิดา-มารดา

พระศิวะ (บิดา)

พระปารวตี (มารดา)
พี่น้องพระขันทกุมาร (พี่ชาย) 
ศาสฐา (น้องชาย)
พระลักษณะที่โดดเด่นจากเทพองค์อื่น ๆ คือพระเศียรเป็นช้างเป็นที่เคารพกันโดยทั่วไปในฐานะของเทพเจ้าผู้ขจัดอุปสรรคองค์อุปถัมภ์แห่งศิลปวิทยาการ วิทยาศาสตร์ และศาสตร์ทั้งปวง และทรงเป็นเทพเจ้าแห่งความฉลาดเฉลียวและปัญญา ในฐานะที่พระองค์ยังทรงเป็นเทพเจ้าแห่งการเริ่มต้น ในบทสวดบูชาต่าง ๆ ก่อนเริ่มพิธีการหรือกิจกรรมใด ๆ ก็จะเปล่งพระนามพระองค์ก่อนเสมอ ๆ สันนิษฐานกันว่าพระคเณศน่าจะปรากฏขึ้นเป็นเทพเจ้าครั้งแรกในราวคริสต์ศตวรรษที่ 2ส่วนหลักฐานยืนยันว่ามีการบูชากันย้อนกลับไปเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ ๔ - ๕ สมัยอาณาจักรคุปตะ ถึงแม้พระลักษณะจะพัฒนามาจากเทพเจ้าในพระเวทและยุคก่อนพระเวท เทพปกรณัมฮินดูระบุว่าพระคเณศทรงเป็นพระบุตรของพระศิวะ และ พระปารวตี พระองค์พบบูชากันอย่างแพร่หลายในทุกนิกายและวัฒนธรรมท้องถิ่นของศาสนาฮินดูพระคเณศทรงเป็นเทพเจ้าสูงสุดในนิกายคาณปัตยะ คัมภีร์หลักของพระคเณศเช่น คเณศปุราณะ, มุทคลปุราณะ และ คณปติอฐารวศีรสะ นอกจากนี้ยังมีสารานุกรมปุราณะอีกสองเล่มที่กล่าวเกี่ยวกับพระคเณศ คือ พรหมปุราณะ และ พรหมันทปุราณะ
พระคเณศแทนมหาคณปติ ในความจริงนิรันดร์ ปรพรหมัน

องค์พญาครุฑ”
สู่ความเจริญรุ่งเรืองแห่งชีวิต
ตำนานพญาครุฑ ในตำนานเมืองฟ้าป่าหิมพานต์นั้นมีเรื่องราวของสัตว์ที่มีอิทธิฤทธิ์มากมายหลายชนิด เช่น ราชสีห์ คชสีห์ อันมีลำตัวเป็น สิงห์แต่มีศีรษะเป็นช้าง กินรี กินนร และสัตว์แปลก ๆ อีกมากมาย ในบรรดาสัตว์ทั้งหลายนั้นมีสองอย่างที่นับว่าเป็นเทพเดรัจฉานมีฤทธิ์มากคือ หนึ่งเป็นพญานาคราชจ้าวแห่งบาดาล และอีกหนึ่งคือพญาครุฑจ้าวแห่งเวหา
นาคและครุฑต่างเป็นสัตว์ที่คู่กันตามตำนาน มีเรื่องราวเล่ากันว่าสัตว์กายสิทธิ์ทั้งสองนี้มีบิดาเดี่ยวกันคือมหาฤาษีกัสยปะเทพบิดรแต่คนละแม่โดยพญาครุฑนั้นมีมารดาเป็นภรรยาหลวง ส่วนนาคนั้นมีแม่เป็นภรรยาคนรอง นางทั้งสองนี้ไม่ถูกกันมีเรื่องกันตลอดจนในที่สุดความผิดใจกันนี้ลามไปถึงลูกของตนด้วย จึงเป็นเหตุให้นาคและครุฑไม่ถูกกันในเวลาต่อมา
พญานาคนั้นมีวิมานอันเป็นทิพย์อยู่ในบาดาล ส่วนครุฑก็มีวิมานทิพย์อยู่ที่เชิงเขาไกรลาศ ทางฮินดูเขานับถือครุฑว่าเป็นเทพเจ้าสำคัญพระองค์หนึ่ง แม้ในทางไทยเราเอง ทางไสยศาสตร์ก็ให้ความนับถือเกี่ยวกับครุฑนี้มาก ดูอย่างตราแผ่นดินเองก็มีรูปลักษณะเป็นครุฑ เหตุนี้จึงน่าสนใจว่าครุฑนั้นคงมีอานุภาพบางอย่างและน่าจะเป็นสิ่งที่มีอยู่จริงในอีกมิติหนึ่งเช่นเดียวกันกับพญานาค ถ้าท่านเชื่อว่าพญานาคมีจริง พญาครุฑก็ย่อมมีจริงเช่นกัน
สามารถพบเห็นรูปครุฑได้จากเอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ และนับว่าเอกสารเหล่านั้นเป็นเอกสารศักดิ์สิทธิ์ หากราชการผู้ที่ทำหน้าที่ผู้ใดมีความสุจริตจงรักภักดีต่อแผ่นดิน องค์พระมหากษัตริย์ และหน้าที่ของตน องค์พญาครุฑก็จะส่งพลังปกป้องให้มีความสุข ความเจริญในหน้าที่
นอกจากนี้ยังมีเกร็ดความเชื่อว่าหากที่ใดมีอาถรรพ์แรง ท่านให้นำเอาตราครุฑไปติดจะทำให้อาถรรพ์นั้นเสื่อมสลายไปในที่สุด ตราครุฑล้างอาถรรพ์ได้จึงเป็นที่เชื่อถือกันมาตลอดและได้รับความเคารพบูชาว่าเป็นของสูง เสมือนหนึ่งตัวแทนแห่งองค์พระประมุข ผู้ใดมีสัญลักษณ์ครุฑ รูปครุฑบูชาไว้ย่อมได้อานิสงส์มาก อาทิ มีความเจริญแก่ตัวเองและครอบครัวเป็นต้น ดังนี้แล้วครุฑจึงเป็นของสูงที่เราควรรู้ควรบูชาอย่างหนึ่ง คนโบราณมีความเชื่อสืบกันมาว่า ครุฑนั้นเป็นสัญลักษณ์แห่งความเจริญรุ่งเรือง มหาอำนาจ ในสมัยก่อนที่ไหนว่ากันว่าผีแรง ผีเฮี้ยน เอาตราพญาครุฑไปติดไว้ความอาถรรพ์ของสถานที่นั้น ๆ ก็จะหายไปในทันที
อำนาจพญาครุฑ

สิทธิอำนาจพญาครุฑ สัตว์กายสิทธิ์ที่ไม่มีผู้ใดสามารถฆ่าให้ตายได้มีอายุยืนเสมือนว่าเป็นอมตะนั้น นับเป็นเรื่องลี้ลับที่ผู้รู้พยายามค้นคว้า และเสาะหาที่มาแห่งพลังอำนาจดังกล่าว จนเกิดการสร้างเครื่องรางต่าง ๆ ขึ้น อำนาจพญาครุฑสามารถจำแนกได้ถึง ๘ ประการ โดยนับเอาอำนาจหลัก ๆ ได้ดังนี้คือ
๑.เป็นมหาอำนาจอันยิ่งใหญ่ เป็นสิทธิอำนาจอันเฉียบขาด
๒.สามารถลบล้างอาถรรพ์และคุณไสย์ทั้งปวง ภูติผีปิศาจกลัวไม่กล้าเข้าใกล้
๓.เป็นสื่อนำความเจริญรุ่งเรือง ยศถาบรรดาศักดิ์มาสู่ชีวิตหน้าที่การงาน
๔.ปกป้องคุ้มครอง ป้องกันภัยเป็นคงกระพัน
๕.เป็นเมตตามหานิยม
๖.นำความร่มเย็นเป็นสุขมาให้
๗.ทำมาค้าขายดีเป็นสื่อนำโชคลาภนานาประการ
๘.สัตว์ร้าย เขี้ยวงาสารพัด งูเงี้ยวเขี้ยวขอ อสรพิษไม่กล้ากล้ำกรายเข้าใกล้ เพราะเกรงตบะบารมีขององค์พญาครุฑเป็นที่สุด
วิธีบูชาองค์พญาครุฑอย่างถูกต้อง
เมื่อได้รับองค์พญาครุฑแบบบูชามาใหม่ๆให้อัญเชิญนำเข้าอาคารบ้านเรือนภายในเที่ยงวัน ให้ทำการจุดธูปบอกกล่าวแด่เจ้าที่เจ้าทางหรือตี่จูเอี๊ย ( ใช้ธูป ๕ ดอก ) เพื่อเป็นการขออนุญาตนำองค์พญาครุฑมาประทับ ณ.สถานที่แห่งนี้ แล้วให้จัดเครื่องบวงสรวงรับด้วยการจุดธูปครั้งแรก ๙ ดอก จุดเทียน ๑ คู่ พวงมาลัย ๑ พวง ผลไม้ ๑ หรือ ๓ อย่าง ถั่วหรืองา ๑ ถ้วย น้ำเปล่า ๑ แก้ว ( งดถวายของคาว บุหรี่ เหล้า ) สามารถวางรวมอยู่กับหิ้งพระได้โดยไว้ชั้นล่างสุด แต่ถ้าเดิมทีหิ้งของท่านบูชาพญานาคอยู่แล้ว ก็ให้วางชั้นเดียวกันได้ โดยไม่ต้องกลัวอาถรรพ์ใดๆทั้งสิ้น เพราะพญาครุฑกับพญานาคยุติสงครามกันมานานแล้ว สามารถวางบูชาร่วมกับองค์พระพิฆเนศได้ไม่มีปัญหา แล้วให้ทำการสวดอัญเชิญสรรเสริญองค์พญาครุฑด้วยบทนี้
ผู้เข้าชม
1245 ครั้ง
ราคา
950
สถานะ
เปิดให้บูชา
ชื่อร้าน
บารมีบุญพระเครื่อง
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
rit3009
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 008-8-93615-9

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
เปียโนหริด์ เก้าแสนstp253termboonNetnapatumlawyer
มนต์เมืองจันท์เอก พานิชพระเครื่องบ้านพระสมเด็จชาวานิชไกร วรมันชา วานิช
somemanhra7215jochoว.ศิลป์สยามเจริญสุขภูมิ IR
Le29Amuletเทพจิระโจ๊ก ป่าแดงน้ำตาลแดงhoppermansiracha
lordtplasep8600tintinเพ็ญจันทร์mon37

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1635 คน

เพิ่มข้อมูล

เหรียญหล่อมหาเทพเทวศิลป์พิมพ์ใหญ่เนื้อสัมฤทธิ์ชุบทองออกวัดถ่ำเขาน้อยเกสโรโดยพระอาจารย์อรรณพ กนฺตสีโลอ.บ้านลาดจ.เพชรบุรี




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
เหรียญหล่อมหาเทพเทวศิลป์พิมพ์ใหญ่เนื้อสัมฤทธิ์ชุบทองออกวัดถ่ำเขาน้อยเกสโรโดยพระอาจารย์อรรณพ กนฺตสีโลอ.บ้านลาดจ.เพชรบุรี
รายละเอียด
พระพรหม
เทพเจ้าในศาสนาฮินดูและศาสนาพุทธ
พระพรหม (สันสกฤต: ब्रह्मा พฺรหฺมา; อังกฤษ: Brahma; เตลูกู: బ్రహ్మ; ) เป็นเทพเจ้าสูงสุด (ตรีมูรติ) ในคติของศาสนาฮินดู เป็นเทพเจ้าแห่งการสร้างสรรค์ ความเมตตา เป็นพระผู้สร้างโลกและให้กำเนิดสิ่งต่าง ๆ ในจักรวาล และให้กำเนิดคัมภีร์พระเวท
พระพรหมการสร้างสรรค์, สติปัญญา และ พระเวทส่วนหนึ่งของ ตรีมูรติเทวรูปพระพรหมที่แพร่หลายในประเทศไทย ซึ่งถอดแบบมาจากเทวรูปของศาลท้าวมหาพรหม โรงแรมเอราวัณชื่ออื่นเวทนาถ, คยเนศวร, จตุรมุข, สวายัมพูชื่อในอักษรเทวนาครีब्रह्मชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตBrahmaส่วนเกี่ยวข้องปรพรหมัน, ตรีมูรติ, เทวะ,วิมานพรหมโลกมนตร์।। ॐ वेदात्मनाय विद्महे हिरण्यगर्भाय धीमही तन्नो ब्रह्मा प्रचोदयात् ।।
(โอม เวทาตมนายะ วิทมะหิ หิรัญญะครรภายะ ธีมาหิ ตันโน พรหมา ปรโกทยาตะ), โอม พรหมยะ นะมะอาวุธBrahmastra, Brahmashirsha astra, Brahmanda astraสัญลักษณ์พระเวทพาหนะหงส์ นามว่า หงสกุมาร/หงสราชเทศกาลKartik Purnima, Srivari Brahmotsavamข้อมูลส่วนบุคคลคู่ครองพระสุรัสวดี (พระอัครมเหสี) และ คยาตรี (ตาม สกันทปุราณะ)บุตร - ธิดาพระมนู, จตุรกุมาร, Narada, Daksha, Marichi ฯลฯพี่น้องพระลักษมี (ตาม สกันทปุราณะ)พระพรหมมีสี่พักตร์ พระศอสวมลูกประคำ พระหัตถ์แต่ละข้างถือดอกบัว, คัมภีร์ และหม้อน้ำ มีพาหนะเป็นหงส์หรือห่าน พระชายาคือพระสุรัสวดี เทพีแห่งศิลปะวิทยาการและความรอบรู้ในคัมภีร์มัตสยาปุราณะเล่าว่า พระพรหมเดิมทีมีถึงห้าพักตร์ การที่มีห้าพักตร์เกิดจาก การที่พระพรหมให้ได้กำเนิดผู้หญิงนางหนึ่งชื่อ ศตรูป ขึ้นมา ความงามของศตรูปทำให้พระองค์หลงใหล เมื่อศตรูปนี้เคลื่อนไปทางใด พระพรหมก็จะหันพระพักตร์เพื่อมองตามไปด้วย แต่ว่ามีครั้งหนึ่งที่พระพรหมไปดูแคลนพระศิวะเข้า ทำให้พระศิวะพิโรธ และใช้ไฟบรรลัยกัลป์จากพระเนตรที่สามที่กลางพระนลาฏเผาพระพักตร์ที่อยู่ด้านบนเศียรของพระพรหม จนเหลือเพียงสี่พักตร์ แต่อีกความเชื่อหนึ่งเล่าว่า เพราะพักตร์ด้านบนของพระพรหมนั้นเจิดจรัสมาก ทำให้พวกสุระและอสุระทนไม่ได้ จึงขอร้องให้พระศิวะเป็นผู้ตัดให้และยังเชื่อด้วยว่าพระพรหมเป็นผู้สร้างบุคคลในวรรณะต่าง ๆ จากอวัยวะแต่ละส่วน ได้แก่ พราหมณ์เกิดจากพระโอษฐ์, กษัตริย์เกิดจากอก, แพศย์เกิดจากท้อง และศูทรเกิดจากเท้า
ตามมติของพราหมณาจารย์แต่โบราณกล่าวถึงตำราพรหมชาติ ว่าเป็นตำราที่มาจากพรหม ตำราพุทธลักษณะที่ฤษีแต่งไว้ก็มาจากพรหม เหตุที่รู้เห็นถึงพุทธลักษณะได้เพราะพรหมเป็นผู้มีอายุยืนและได้รู้เห็นเรื่องราวต่าง ๆ อยู่ตลอดกาลนาน เมื่อเวลาพราหมณ์หนุ่มเที่ยวสืบหาที่เรียนและทำความเคารพนบนอบในผู้เฒ่าผู้แก่อยู่นั้น พระพรหมเห็นแก่ความกรุณา พอทราบเรื่อง จึงได้แปลงเพศมาเป็นพราหมณ์ฤษีแล้วบอกวิชา ทั้งเรื่องมนต์ ไสยเวท ตำราพยากรณ์ ตำราดูลักษณะของหมอดู ต่าง ๆนั้นเองพราหมณ์จึงถือว่ามาจากพรหม และจึงได้นับถือกันว่าเป็นของศักดิ์สิทธิ์มีความงดงาม แม้คัมภีร์ปิงคละดาบส ตำราโตลกจือโหราศาสตร์จีน ถึงตลอดคัมภีร์โหราศาสตร์ในรุ่นหลัง ๆ ก็ได้กล่าวว่าได้มาแต่ฤษีและเทวะบันดาล อาจารย์ผู้ที่เรียนรู้ไว้ต่างกล่าวถึงสิ่งมงคลนี้ในทำนองเดียวกันในคติของชาวไทยที่รับคติความเชื่อจากศาสนาพรหมณ์-ฮินดู เชื่อว่าพระพรหมเป็นผู้ลิขิต ชะตาชีวิตของบุคคลต่าง ๆ ตั้งแต่เกิดจนตาย เรียกว่า "พรหมลิขิต" และผู้ใดที่บูชาพระพรหมอยู่เป็นนิจ พระองค์จะประทานพรให้สมหวัง เรียกว่า "พรพรหม" หรือ "พรหมพร"[1] และยังเป็นเทพประจำทิศเบื้องบนอีกด้วย[5]
ด้วยเหตุดังนี้ พระพรหมจึงมีพระนามต่าง ๆ อาทิ "พรหมธาดา" หรือ "ประชาบดี" (ผู้สร้าง), "หงสรถ" หรือ "หงสวาหน" (ผู้มีหงส์เป็นพาหนะ), "จตุรพักตร์" (ผู้มีสี่หน้า), "ปรเมษฐ์" (ผู้ประเสริฐ) เป็นต้น ส่วนในลิลิตโองการแช่งน้ำเรียกว่า "ขุนหงส์ทองเกล้าสี่โดยความหมายของคำว่า "พรหม" หมายถึง "ความเจริญ, ความกว้างขวาง, ความขยายตัว หรือความเบิกบาน" ดังนั้นตามคติและวัตรปฏิบัติต่าง ๆ ทั้งในศาสนาพราหมณ์-ฮินดู และพุทธศาสนาจึงมีคำว่า พรหม ประกอบคำศัพท์ เช่น "พรหมจรรย์", "พรหมบุตร" หรือ "พรหมวิหาร 4" เป็นต้น พระวิษณุ
เทพผู้ปกป้องโลกในศาสนาฮินดู
พระวิษณุ (สันสกฤต: विष्णु วิษฺณุ) หรือที่รู้จักกันในพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า พรนารายณ์ (สันสกฤต: नारायण นารายณ) เป็นหนึ่งในสามตรีมูรติ มีหน้าที่คุ้มครองแลดูแลรักษาทั้ง ๓ โลกตามความเชื่อของชาวฮินดู จากคัมภีร์พราหมณ์ รูปร่างลักษณะมีพระวรกายจะมีสีที่เปลี่ยนไปตามยุค ฉลองพระองค์ดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎทอง อาภรณ์สีเหลือง มี ๔ กร ถือ สังข์ จักรสุทรรศน์ คทาเกาโมทกี แต่ที่จะพบเห็นได้บ่อยที่สุดคือถือ จักร์ สังข์ คทา ส่วนอีกกรจะถือ ดอกบัวบ้าง หรือ ไม่ถืออะไรเลยบ้าง (โดยจะอยู่ในลักษณะ"ประทานพร")
พระวิษณุ
ชื่อในอักษรเทวนาครีविष्णुชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตViṣṇuอาวุธจักรสุทรรศน์ สังข์ คทาเกาโมทกีดอกบัวพาหนะครุฑคู่ครองพระแม่ลักษมีพระแม่ภูมีโดยปรกติ พระวิษณุ จะทรงประทับอยู่ที่เกษียรสมุทร โดยส่วนมากจะบรรทมอยู่บนหลังพญาอนันตนาคราช โดยมีพระชายาคือพระแม่ลักษมีมหาเทวี คอยฝ้าดูแลปรนิบัติอยู่ข้าง ๆ เสมอ พาหนะของพระวิษณุคือ พญาครุฑพระวิษณุ มีอีกพระนามอีกอย่างหนึ่งว่า "หริ" แปลว่าผู้ดูแลแห่งจักรวาลถือเป็นเทพสูงสุด เพราะทุกอย่างเกิดจาก "หริ" โดย"หริ"ได้แบ่งตนเองออกเป็น ๓ คือ
พระพรหม มีหน้าที่สร้างและลิขิตสรรพสิ่งทั้งปวงในทั้งสามโลก
พระวิษณุ หรือ พระหริ มีหน้าที่ดูแลทั้งสามโลกให้อยู่ในความเรียบร้อย และสมดุล
พระศิวะ มีหน้าที่ทำลายสิ่งที่ไม่ดีทั้งหลายทั้งปวงในโลกทั้งสาม
ในคัมภีร์ของลัทธิไวษณพ (นับถือพระวิษณุเป็นใหญ่) กล่าวว่าเมื่อยามที่พระวิษณุผู้เป็นใหญ่แห่งจักรวาลมีประสงค์จะสร้างโลกทั้ง ๓ นั้น ท่านได้เห็นว่าการสร้างโลกทั้ง ๓ นี้ เป็นงานที่หนักสำหรับคนเพียงคนเดียว ท่านจึงแบ่งบางส่วนของร่างกายพระองค์ออกเป็นมหาเทพทั้ง ๓ พระองค์ โดยแขนซ้ายเป็นพระพรหม แขนขวาเป็นพระศิวะ และส่วนอกเป็น พระวิษณุ (แม้แต่ในรูปตรีมูรติ ก็จะเห็นว่า พระพักตร์ของพระวิษณุจะอยู่ตรงกลางเสมอ)
ส่วนในคัมภีร์ของลัทธิไศวะ (นับถือพระศิวะเป็นใหญ่) จะกล่าวต่างออกไปคือ “พระปรเมศวร” (พระศิวะ) เป็นผู้สร้างพระวิษณุ เนื่องจากมีพระประสงค์จะสร้างสวรรค์และโลก ซึ่งถือว่าเป็นงานใหญ่ จึงได้ทรงต้องการผู้ช่วย โดยการนำหัตถ์ซ้ายมาลูบหัตถ์ขวา จึงบังเกิดเป็นเทพชื่อ “พระวิษณุ” หรือ “พระนารายณ์” พระปรเมศวร ได้สอนศิลปะด้านต่าง ๆ ให้กับพระวิษณุ ในทุกด้าน และให้ประทับอยู่ ณ เกษียรสมุทร เมื่อเกิดเหตุร้ายในโลกมนุษย์ หรือสวรรค์เมื่อใด พระวิษณุก็จะมีหน้าที่ไปปราบปรามเหล่าอสูร และผู้ประสงค์ร้ายนั้น ๆ โดยในบางคราวก็จะได้รับการร้องขอจากเหล่าเทพเทวดาบ้าง
คัมภีร์มหาภารตะ เล่าไว้ถึงพระนารายณ์ว่าแต่เดิมคือฤๅษีตนหนึ่ง เป็นบุตรของฤๅษีธรรมะ ได้เดินทางจากโลกมนุษย์ ไปสู่สถานที่ของพวกพราหมณ์พร้อมเพื่อนสนิทนามว่า “นร” เพื่อบำเพ็ญเพียรจนได้รับการเคารพบูชาจากเทพเทวดาทั้งมวล ต่อมาได้รับการขอร้องจากเหล่าเทวดาให้ช่วยปราบอสูรที่สร้างความเดือดร้อน ฤๅษีทั้งสองจึงได้รับปากช่วยเหลือโดยได้ออกรบกับอสูรจนได้รับชัยชนะ จึงได้รับความเคารพนับถือจากเหล่าเทวดายิ่งขึ้นกว่าแต่ก่อน จนภายหลังฤๅษีนารายณ์ได้ออกเดินทางไปบำเพ็ญตนยังหิมาลัยจนบรรลุผลเป็นพราหมณ์ (ผู้รู้แจ้งทุกสิ่งในโลก) และได้เป็นผู้นำเหล่าพราหมณ์ในเวลาต่อมา จากการยกย่องบูชาตลอดที่ผ่านมาจนเป็นที่รู้จักในนาม “พระวิษณุ (นารายณ์) ”
พระนามของพระวิษณุ พระนารายณ์ มีผู้ขนานนามเรียกขานจากความแตกต่างกันตามความเชื่อ พระนามตามฤทธิ์อำนาจ และตามเหตุการณ์ที่ต่างกันตามกาล อาทิ อนันตะ ไม่สิ้นสุด จตุรภุช มี ๔ กร มุราริ เป็นศัตรูแห่งมุระ นระ (นะระ) ผู้ชาย นารายณ์ ผู้ที่เคลื่อนไปในน้ำ ปัญจายุทธ พระผู้ทรงอาวุธทั้ง ๕ อย่าง ปีตามพร ทรงเครื่องสีเหลือง ทโมทร มีเชือกพันเอาไว้รอบเอว กฤษณะ, โควินทะ, โคบาล ผู้เลี้ยงวัว ชลศายิน ผู้นอนเหนือน้ำ พระพิษณุหริ ผู้สงวน อนันตไศยน นอนบนอนัตนาคราช ลักษมีบดี ผู้เป็นสามีของพระลักษมี วิษว์บวร ผู้คุ้มครองโลก สวยภู เกิดเอง เกศวะ มีผมอันงาม กิรีติน ผู้ใส่มงกุฎ พระวิษณุ พระนารายณ์ ทรงประทับบนสวรรค์ เรียก ไวกูณฐ์ พาหนะ คือครุฑ พระวรกายสีนิล ฉลองดั่งกษัตริย์ มีมงกุฎ อาภรณ์สีเหลือง มี ๔ กร ถือ สังข์ จักร ตรี คทา บ้างก็กล่าวไว้ว่าทรงถือ ดอกบัว ลูกศร ดอกไม้ หรือเชือกบ่วงบาศ หรือสายฟ้า อาวุธประจำที่ใช้ คือ สังข์ จักร คทา ธนู และพระขรรค์
พระพิฆเนศ
เทพเจ้าฮินดูที่มีพระเศียรเป็นช้างพระ พระนามอื่นที่พบ เช่น พระพิฆเณศวร พระพิฆเณศวร์ หรือ พระคณปติ เป็นเทวดาในศาสนาฮินดูที่ได้รับการเคารพบูชาอย่างแพร่หลายที่สุดมีการเคารพอย่างแพร่หลายทั้งในอินเดีย, เนปาล, ศรีลังกา, ฟิจิ, ไทย, บาหลี, บังคลาเทศ นิกายในศาสนาฮินดูทุกนิกายล้วนเคารพบูชาพระคเณศ ไม่ได้จำกัดเฉพาะในคาณปัตยะเท่านั้น และการบูชาพระคเณศยังพบในพุทธและไชนะอีกด้วย
พระพิฆเนศเทพเจ้าแห่งการเริ่มต้นใหม่, ความสำเร็จ และสติปัญญาพระผู้ขจัดอุปสรรคชื่อในอักษรเทวนาครีगणेशःชื่อในการทับศัพท์ภาษาสันสกฤตGaṇeśaส่วนเกี่ยวข้องเทวะ, พระพรหม (คณปัตยะ), สคุณพรหมัน (ปัญจยาตนบูชา), พระอิศวรวิมานเขาไกรลาศ (เคียงพระศิวะและพระปารวตี), คเนศโลกมนตร์โอม ศรีคเณศายะ นะมะโอม คัม คณปัตยะ นะมะ
(Oṃ Shri Gaṇeśāya Namaḥ
Oṃ Gaṃ Gaṇapataye Namaḥ)อาวุธปรศุ (ขวาน), ปาศ (บาศ), อัณกุศ (ประตักช้าง)สัญลักษณ์โอม, ขนมโมทกะพาหนะหนูคัมภีร์คเนศปุราณะ, มุทคลปุราณะ, คณปติอัฐรวศีรษะเพศบุรุษเทศกาลคเนศจตุรถีข้อมูลส่วนบุคคลคู่ครอง

พุทธิ (ปัญญา)

ฤทธิ (ความเจริญ)

สิทธิ (ความสำเร็จ)

บิดา-มารดา

พระศิวะ (บิดา)

พระปารวตี (มารดา)
พี่น้องพระขันทกุมาร (พี่ชาย) 
ศาสฐา (น้องชาย)
พระลักษณะที่โดดเด่นจากเทพองค์อื่น ๆ คือพระเศียรเป็นช้างเป็นที่เคารพกันโดยทั่วไปในฐานะของเทพเจ้าผู้ขจัดอุปสรรคองค์อุปถัมภ์แห่งศิลปวิทยาการ วิทยาศาสตร์ และศาสตร์ทั้งปวง และทรงเป็นเทพเจ้าแห่งความฉลาดเฉลียวและปัญญา ในฐานะที่พระองค์ยังทรงเป็นเทพเจ้าแห่งการเริ่มต้น ในบทสวดบูชาต่าง ๆ ก่อนเริ่มพิธีการหรือกิจกรรมใด ๆ ก็จะเปล่งพระนามพระองค์ก่อนเสมอ ๆ สันนิษฐานกันว่าพระคเณศน่าจะปรากฏขึ้นเป็นเทพเจ้าครั้งแรกในราวคริสต์ศตวรรษที่ 2ส่วนหลักฐานยืนยันว่ามีการบูชากันย้อนกลับไปเมื่อราวคริสต์ศตวรรษที่ ๔ - ๕ สมัยอาณาจักรคุปตะ ถึงแม้พระลักษณะจะพัฒนามาจากเทพเจ้าในพระเวทและยุคก่อนพระเวท เทพปกรณัมฮินดูระบุว่าพระคเณศทรงเป็นพระบุตรของพระศิวะ และ พระปารวตี พระองค์พบบูชากันอย่างแพร่หลายในทุกนิกายและวัฒนธรรมท้องถิ่นของศาสนาฮินดูพระคเณศทรงเป็นเทพเจ้าสูงสุดในนิกายคาณปัตยะ คัมภีร์หลักของพระคเณศเช่น คเณศปุราณะ, มุทคลปุราณะ และ คณปติอฐารวศีรสะ นอกจากนี้ยังมีสารานุกรมปุราณะอีกสองเล่มที่กล่าวเกี่ยวกับพระคเณศ คือ พรหมปุราณะ และ พรหมันทปุราณะ
พระคเณศแทนมหาคณปติ ในความจริงนิรันดร์ ปรพรหมัน

องค์พญาครุฑ”
สู่ความเจริญรุ่งเรืองแห่งชีวิต
ตำนานพญาครุฑ ในตำนานเมืองฟ้าป่าหิมพานต์นั้นมีเรื่องราวของสัตว์ที่มีอิทธิฤทธิ์มากมายหลายชนิด เช่น ราชสีห์ คชสีห์ อันมีลำตัวเป็น สิงห์แต่มีศีรษะเป็นช้าง กินรี กินนร และสัตว์แปลก ๆ อีกมากมาย ในบรรดาสัตว์ทั้งหลายนั้นมีสองอย่างที่นับว่าเป็นเทพเดรัจฉานมีฤทธิ์มากคือ หนึ่งเป็นพญานาคราชจ้าวแห่งบาดาล และอีกหนึ่งคือพญาครุฑจ้าวแห่งเวหา
นาคและครุฑต่างเป็นสัตว์ที่คู่กันตามตำนาน มีเรื่องราวเล่ากันว่าสัตว์กายสิทธิ์ทั้งสองนี้มีบิดาเดี่ยวกันคือมหาฤาษีกัสยปะเทพบิดรแต่คนละแม่โดยพญาครุฑนั้นมีมารดาเป็นภรรยาหลวง ส่วนนาคนั้นมีแม่เป็นภรรยาคนรอง นางทั้งสองนี้ไม่ถูกกันมีเรื่องกันตลอดจนในที่สุดความผิดใจกันนี้ลามไปถึงลูกของตนด้วย จึงเป็นเหตุให้นาคและครุฑไม่ถูกกันในเวลาต่อมา
พญานาคนั้นมีวิมานอันเป็นทิพย์อยู่ในบาดาล ส่วนครุฑก็มีวิมานทิพย์อยู่ที่เชิงเขาไกรลาศ ทางฮินดูเขานับถือครุฑว่าเป็นเทพเจ้าสำคัญพระองค์หนึ่ง แม้ในทางไทยเราเอง ทางไสยศาสตร์ก็ให้ความนับถือเกี่ยวกับครุฑนี้มาก ดูอย่างตราแผ่นดินเองก็มีรูปลักษณะเป็นครุฑ เหตุนี้จึงน่าสนใจว่าครุฑนั้นคงมีอานุภาพบางอย่างและน่าจะเป็นสิ่งที่มีอยู่จริงในอีกมิติหนึ่งเช่นเดียวกันกับพญานาค ถ้าท่านเชื่อว่าพญานาคมีจริง พญาครุฑก็ย่อมมีจริงเช่นกัน
สามารถพบเห็นรูปครุฑได้จากเอกสารต่าง ๆ ของทางราชการ และนับว่าเอกสารเหล่านั้นเป็นเอกสารศักดิ์สิทธิ์ หากราชการผู้ที่ทำหน้าที่ผู้ใดมีความสุจริตจงรักภักดีต่อแผ่นดิน องค์พระมหากษัตริย์ และหน้าที่ของตน องค์พญาครุฑก็จะส่งพลังปกป้องให้มีความสุข ความเจริญในหน้าที่
นอกจากนี้ยังมีเกร็ดความเชื่อว่าหากที่ใดมีอาถรรพ์แรง ท่านให้นำเอาตราครุฑไปติดจะทำให้อาถรรพ์นั้นเสื่อมสลายไปในที่สุด ตราครุฑล้างอาถรรพ์ได้จึงเป็นที่เชื่อถือกันมาตลอดและได้รับความเคารพบูชาว่าเป็นของสูง เสมือนหนึ่งตัวแทนแห่งองค์พระประมุข ผู้ใดมีสัญลักษณ์ครุฑ รูปครุฑบูชาไว้ย่อมได้อานิสงส์มาก อาทิ มีความเจริญแก่ตัวเองและครอบครัวเป็นต้น ดังนี้แล้วครุฑจึงเป็นของสูงที่เราควรรู้ควรบูชาอย่างหนึ่ง คนโบราณมีความเชื่อสืบกันมาว่า ครุฑนั้นเป็นสัญลักษณ์แห่งความเจริญรุ่งเรือง มหาอำนาจ ในสมัยก่อนที่ไหนว่ากันว่าผีแรง ผีเฮี้ยน เอาตราพญาครุฑไปติดไว้ความอาถรรพ์ของสถานที่นั้น ๆ ก็จะหายไปในทันที
อำนาจพญาครุฑ

สิทธิอำนาจพญาครุฑ สัตว์กายสิทธิ์ที่ไม่มีผู้ใดสามารถฆ่าให้ตายได้มีอายุยืนเสมือนว่าเป็นอมตะนั้น นับเป็นเรื่องลี้ลับที่ผู้รู้พยายามค้นคว้า และเสาะหาที่มาแห่งพลังอำนาจดังกล่าว จนเกิดการสร้างเครื่องรางต่าง ๆ ขึ้น อำนาจพญาครุฑสามารถจำแนกได้ถึง ๘ ประการ โดยนับเอาอำนาจหลัก ๆ ได้ดังนี้คือ
๑.เป็นมหาอำนาจอันยิ่งใหญ่ เป็นสิทธิอำนาจอันเฉียบขาด
๒.สามารถลบล้างอาถรรพ์และคุณไสย์ทั้งปวง ภูติผีปิศาจกลัวไม่กล้าเข้าใกล้
๓.เป็นสื่อนำความเจริญรุ่งเรือง ยศถาบรรดาศักดิ์มาสู่ชีวิตหน้าที่การงาน
๔.ปกป้องคุ้มครอง ป้องกันภัยเป็นคงกระพัน
๕.เป็นเมตตามหานิยม
๖.นำความร่มเย็นเป็นสุขมาให้
๗.ทำมาค้าขายดีเป็นสื่อนำโชคลาภนานาประการ
๘.สัตว์ร้าย เขี้ยวงาสารพัด งูเงี้ยวเขี้ยวขอ อสรพิษไม่กล้ากล้ำกรายเข้าใกล้ เพราะเกรงตบะบารมีขององค์พญาครุฑเป็นที่สุด
วิธีบูชาองค์พญาครุฑอย่างถูกต้อง
เมื่อได้รับองค์พญาครุฑแบบบูชามาใหม่ๆให้อัญเชิญนำเข้าอาคารบ้านเรือนภายในเที่ยงวัน ให้ทำการจุดธูปบอกกล่าวแด่เจ้าที่เจ้าทางหรือตี่จูเอี๊ย ( ใช้ธูป ๕ ดอก ) เพื่อเป็นการขออนุญาตนำองค์พญาครุฑมาประทับ ณ.สถานที่แห่งนี้ แล้วให้จัดเครื่องบวงสรวงรับด้วยการจุดธูปครั้งแรก ๙ ดอก จุดเทียน ๑ คู่ พวงมาลัย ๑ พวง ผลไม้ ๑ หรือ ๓ อย่าง ถั่วหรืองา ๑ ถ้วย น้ำเปล่า ๑ แก้ว ( งดถวายของคาว บุหรี่ เหล้า ) สามารถวางรวมอยู่กับหิ้งพระได้โดยไว้ชั้นล่างสุด แต่ถ้าเดิมทีหิ้งของท่านบูชาพญานาคอยู่แล้ว ก็ให้วางชั้นเดียวกันได้ โดยไม่ต้องกลัวอาถรรพ์ใดๆทั้งสิ้น เพราะพญาครุฑกับพญานาคยุติสงครามกันมานานแล้ว สามารถวางบูชาร่วมกับองค์พระพิฆเนศได้ไม่มีปัญหา แล้วให้ทำการสวดอัญเชิญสรรเสริญองค์พญาครุฑด้วยบทนี้
ราคาปัจจุบัน
950
จำนวนผู้เข้าชม
1258 ครั้ง
สถานะ
เปิดให้บูชา
โดย
ชื่อร้าน
บารมีบุญพระเครื่อง
URL
เบอร์โทรศัพท์
0910162844
ID LINE
rit3009
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารกสิกรไทย / 008-8-93615-9




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี