พระราชบัญญัติงาช้าง พ.ศ. ๒๕๕๘
เพื่อให้เป็นไปตามกฏหมายดังกล่าว สมาชิกทุกท่านต้องอ่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามอย่างเคร่งคัด
สิงห์งาแกะพญารา...
สิงห์งาแกะพญาราชสีห์ทรงเครื่องล้านนาครูบาสีหราช หมื่นยันต์ วัดมงคลวรคุณวิปัสสนา จ.เชียงราย
สิงห์งาแกะพญาราชสีห์ทรงเครื่องล้านนาครูบาสีหราช หมื่นยันต์ วัดมงคลวรคุณวิปัสสนา จ.เชียงราย///
ครูบาสีหราช วัดมงคลวรคุณวิปัสสนา ตั้งอยู่เลขที่ ๑๒๗ หมู่ ๔ ต.เม็งราย อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย ถือว่าเป็นสำนักสักยันต์ที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆ ของภาคเหนือ โดยมีลูกศิษย์ทั้งชาวไทยและต่างประเทศไปให้ครูบาสีหราชลงยันต์จำนวนมาก

นอกจากความสนใจในพระพุทธศาสนา และเรื่องราวเกี่ยวกับวิชาคาถาอาคมมาแต่เด็ก เนื่องด้วยโยมตาของพระครูบาสีหราชเป็นผู้ที่มีวิชาอาคมด้านรักษาคนป่วยจากการถูกผีโป่ง หรือ โดนคุณไสย ในวัยเด็กพระครูบาสีหราชจึงมักจะเห็นผู้คนมาขอความช่วยเหลือจากโยมตาของท่านอยู่บ่อยๆ พระครูบาจึงมีความเชื่อและศรัทธาจึงใฝ่หาวิชาอาคมแอบดูแอบมองการทำพิธีต่างๆ ของผู้ใหญ่อยู่ตลอด

ในวัยเด็กนั้น พระครูบาเป็นคนชอบพระสงฆ์มาก เวลามีพระธุดงค์มาพักที่ป่าช้าหลังหมู่บ้าน พระครูบาก็จะชวนโยมพ่อกับโยมแม่นำน้ำปานะไปถวายอยู่ตลอด พระมหาเถระครูบาอาจารย์ท่านแรกที่พระครูบาเคารพนับถือและศรัทธามากๆ และเป็นพระสงฆ์ที่พระครูบาคิดอยากทำอยากปฏิบัติเหมือนท่าน (ความคิดในวัยเด็กขณะนั้น) คือพระครูบามนตรี หรือ พระครูวิฑิตพิพัฒนาทร วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี อ.เด่นชัย จ.แพร่ ที่พระครูบาได้รู้จักพระครูบามนตรีเพราะว่าลูกชายของลุงผู้เป็นพี่ชายของโยมแม่ได้บวชเณรและร่ำเรียนวิชาทางธรรม

วัดพระธาตุสุโทน พระครูบาก็ได้ไปร่วมงาน จึงได้เห็นวัดวาอารามที่สวยงาม สงบ สะอาด จึงเกิดปีติอยากจะบวชเป็นพระแต่อายุยังไม่ถึงเกณฑ์ที่จะบวช จึงต้องเฝ้ารอให้เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เมื่อพระครูบาอายุ ๑๑ ขวบ โยมพ่อกับโยมแม่เห็นว่าพระครูบาอยากจะบวชอยู่วัดจริงๆ จึงนำไปฝากตัวเป็นศิษย์กับพระอาจารย์แดนไทย อนาลโย ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดต้นม่วงคีรี อยู่ห่างจากบ้านของพระครูบาประมาณ ๗ กิโลเมตร

พระอาจารย์แดนไทยเป็นพระคณาจารย์สักยันต์ ทำพระ ทำตะกรุด ซึ่งก็ตรงกับสิ่งที่พระครูบาชอบและต้องการศึกษา พระอาจารย์แดนไทยก็เมตตาพระครูบาเป็นอย่างมาก ไม่ว่าพระครูบาจะถามจะสนใจในเรื่องอะไรท่านก็เมตตาสอนทุกอย่าง อย่างเช่น เรื่องการสักยันต์ และการกดพระพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น และแล้วพระครูบาก็อยู่กับพระอาจารย์แดนไทยได้เพียง ๓ เดือนเศษ พระอาจารย์แดนไทย อนาลโย ก็มรภาพลง พระครูบาจึงกลับมาอยู่บ้านกับพ่อแม่ตามเดิม

นอกจากนี้แล้ว พระครูบาได้ฝากตัวเป็นศิษย์ของอาจารย์พระมหาประสิทธิ์ (ลูกศิษย์พระครูศิรินันทคุณ หรือ หลวงปู่ครูบาศรีนวล อินทนนฺโท) เจ้าอาวาสวัดช้างค้ำ ท่านพระอาจารย์ก็เมตตารักพระครูบาเป็นอย่างยิ่ง ไม่ว่าพระครูบาจะสนใจในเรื่องในตำราใดๆ พระอาจารย์มหาฯก็สอนก็ชี้แนะ จนถึงขั้นว่ามอบหมายให้พระครูบาทำเทียนสะเดาะเคราะห์เสริมดวงแทนเวลามีผู้มาขอความเมตตาให้ช่วยและเวลาไปทำพิธีต่างๆ ก็มักจะพาพระครูบาไปด้วยอยู่เสมอๆ

ครูบาสีหราช พูดไว้อย่างน่าคิดว่า "คนที่ไม่รู้คิดว่าการสักยันต์เป็นเรื่องของไสยศาสตร์ แต่แท้ที่จริงแล้วอักขระเลขยันต์ล้วนเป็นตัวธรรมที่โบราณาจารย์คิดค้นขึ้นทั้งสิ้น ทุกอักขระเลขยันต์สามารถแปลเป็นความหมายได้ทั้งสิ้น สิ่งหนึ่งที่เป็นอุปเท่ห์ของการสักยันต์คือ ยันต์จะแสดงพุทธานุภาพได้นั้น คนต้องรักษาศีลให้ได้ก่อน โดยเฉพาะศีล ๕"
นักธรรมชั้นเอกและร่ำเรียนวิชาอาคม
"สีหราช จิระวณิชย์ศิริกุล" เป็นชื่อและสกุลเดิมของครูบาสีหราช เกิด วันพุธที่ ๒๐ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๓ ณ บ้านเลขที่ ๑ หมู่ ๖ ต.บ่อเหล็กลอง อ.ลอง จ.แพร่

เมื่อพระครูบาอายุได้ ๑๒ ปี จึงกราบลาโยมพ่อโยมแม่บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดหลวงล้อมแรด อ.เถิน จ.ลำปาง โดยมี พระครูคัมภีร์ธรรมสุนทร เจ้าคณะตำบลล้อมแรด เขต ๒ เจ้าอาวาสวัดท่านาง เป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อบรรพชาอยู่ปฏิบัติธรรมครบ ๗ วัน แล้ว โยมพ่อโยมแม่ก็พาพระครูบามาฝากเป็นศิษย์ พระครูสุธรรมจินดากร วัดเหล่าน้อย อ.เถิน จ.ลำปาง ท่านได้เมตตาพระครูบามาก ได้ถ่ายทอดสรรพวิชาความรู้ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนอักขระธรรมล้านนาและการเทศน์คัมภีร์แบบล้านนา ตลอดจนถึงบทสวดมนต์ทุกบท และการทำตะกรุดโทน มหาอุด คงกระพันชาตรี

พระครูบาเล่าให้ฟังว่า ขณะศึกษาเล่าเรียนอยู่ที่วัดเหล่าน้อยนั้น พระครูบาได้ตั้งใจร่ำเรียนวิชาทุกอย่าง แอบจำการบริหารการทำงานทุกอย่างของหลวงพ่อพระครูฯ เพราะพระครูบาคิดเสมอว่า สักวันเราจะได้เป็นเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่ง หากถึงวันนั้นมาเราจะทำอะไรไม่เป็น พระครูบาได้บวชเป็นเณรศึกษาพระธรรมวินัยจนสอบได้นักธรรมชั้นตรี ก็กราบลาหลวงพ่อพระครูสุธรรมจินดากรไปศึกษาต่อที่ จ.ลำพูน

ที่ จ.ลำปาง จำพรรษาที่นั้นอยู่ ๑ ปี ก็ได้พบกับพระอาจารย์ทองสุข ซึ่งท่านเป็นพระธุดงค์ไปตามป่า ท่านก็เมตตาจึงรับพระครูบาเป็นศิษย์ถ่ายทอดวิชาอาคม ด้านการช่วยเหลือญาติโยมการอาบน้ำมนต์ ถอนของแก้คุณไสย ให้จนหมด พระอาจารย์ทองสุขได้พาพระครูบาไปฝากตัวเป็นศิษย์กับพ่อหมอธนมิตร ซึ่งเป็นครูบาอาจารย์ฝ่ายฆราวาส ท่านเป็นชาวเขมร

จากนั้นพระครูบาก็เดินทางมาอาศัยอยู่ที่วัดสันสะลีก อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย สถานที่แห่งนี้เป็นป่าช้า เงียบ สงบ วิเวกมากเหมาะแก่การฝึกจิตเป็นอย่างยิ่ง ขณะนั้นพระครูบาอายุได้เพียง ๑๘ ปี ซึ่งยังเป็นเณรอยู่ เหมือนดั่งเทวดาท่านทราบ แม้พระครูบาจะไม่แสดงตนไม่บอกใครว่ามีวิชาติดตัวอยู่ แต่ก็มีญาติโยมมาขอความช่วยเหลือจากพระครูบาอยู่ตลอด ไม่ว่าจะมาขอน้ำมนต์ ถูกคุณผีคุณคน บูชาเทียนเสริมดวง หรือค้าขาย มีมาตลอด

เมื่อยังเป็นเณร พระครูบาก็ไปจัดรายการวิทยุเผยแผ่ธรรมะเทศน์ออกสถานีวิทยุทุกเช้า ชาวบ้านผู้เฒ่าผู้แก่แถวนั้นจะชอบพระครูบามาก เพราะติดใจในการพูดจาสำนวนการเทศน์ของพระครูบา

เริ่มสร้างวัดเมื่ออุปสมบทได้ ๑ เดือน

พระครูบาอุปสมบทได้ ๑ เดือน กับ ๒๕ วัน ก็ได้รับนิมนต์จากคณะศรัทธาวัดสันสะลีก อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย ให้อยู่ดูแลช่วยสร้างวัด พระครูบาเล่าให้ฟังว่า จริงๆ แล้วยังไม่อยากรับภาระหน้าที่อะไร อยากจะไปเรียนทางโลกให้จบเสียก่อน แต่มานึกถึงคำครูอาจารย์ได้บอกไว้ว่า “บ้านที่เคยอยู่ อู่ที่เคยนอน หมอนที่เคยหนุน พระคุณที่เคยพึ่งพาอาศัย อย่าได้รอเวลารอโอกาสที่จะตอบแทนคุณ” พระครูบาจึงเริ่มการพัฒนาวัดสันสะลีก อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย

โดยใช้ทั้งปัจจัยส่วนตัว ด้วยการทำวัตถุมงคล กฐิน และผ้าป่าในแต่ละปี เรื่อยมา จากวัดที่เป็นป่าช้าน่ากลัวมาก จนกลายเป็นวัดที่น่าอยู่ พระครูบาเริ่มก่อสร้างอุโบสถ ปรับปรุงกุฏิ สร้างโรงครัว สร้างโรงเก็บของ สร้างลานปฏิบัติธรรม สร้างพระทันใจ หน้าตัก ๔ เมตร ปรับปรุงภูมิทัศโดยรอบวัด ใช้เวลาอยู่ ๕ ปี สิ้นงบประมาณไป ๑๐,๘๙๐,๐๐๐ บาท

พระครูบาสีหราช จึงนึกคิดอยู่เสมอๆ ว่า มีโอกาสมีบารมีเมื่อไหร่อยากจะสร้างวัดถวายพระพุทธศาสนาและเชิดชูบุญคุณครูอาจารย์ที่ได้อบรมบ่มนิสัยทำให้พระครูบาเป็นคนที่มีประสิทธิภาพยืนอยู่ในสังคมได้ เมื่อมีโอกาสจึงสร้างวัดถวายเป็นพุทธบูชา โดยตั้งชื่อว่า วัดมงคลวรคุณ วิปัสสนา ประธานสร้างโดย พระเดชพระคุณพระครูปลัดสุวัฒนมงคลวรคุณ (หลวงพ่อรักษ์ อนาลโย) ดำเนินงานก่อสร้างโดย พระใบฎีกาสีหราช วิสุทธิเมธี (พระครูบาสีหราช หมื่นยันต์) เริ่มดำเนินการสร้างวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ วัดมงคลวรคุณ วิปัสสนา (วัดสุทธาวาส วิปัสสนา สาขา ๑) หรือวัดหลวงพ่อรักษ์ ๓๐ ทัศ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๙ ไร่เศษ
ผู้เข้าชม
3796 ครั้ง
ราคา
-
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
ชื่อร้าน
อาร์ทตลาดโพธิ์
ร้านค้า
โทรศัพท์
ไอดีไลน์
@art222888
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 388-2-23308-9

ผู้เข้าใช้งานล่าสุด
บ้านพระหลักร้อยบ้านพระสมเด็จเปียโนนานาvanglannakaew กจ.
เธียรtermboonสยามพระเครื่องไทยnatthanetnatt29someman
tintinBeerchang พระเครื่องMuthitaกระต่วยหริด์ เก้าแสนโกหมู
Le29Amuletchaithawatสมชายตลับพระ99jochoนรินทร์ ทัพไทยNonthephatsadin
ปลั๊ก ปทุมธานีmon37supsinเสือรากไทรกรีนพีชnattapol

ผู้เข้าชมขณะนี้ 1278 คน

เพิ่มข้อมูล

สิงห์งาแกะพญาราชสีห์ทรงเครื่องล้านนาครูบาสีหราช หมื่นยันต์ วัดมงคลวรคุณวิปัสสนา จ.เชียงราย




  ส่งข้อความ



ชื่อพระเครื่อง
สิงห์งาแกะพญาราชสีห์ทรงเครื่องล้านนาครูบาสีหราช หมื่นยันต์ วัดมงคลวรคุณวิปัสสนา จ.เชียงราย
รายละเอียด
สิงห์งาแกะพญาราชสีห์ทรงเครื่องล้านนาครูบาสีหราช หมื่นยันต์ วัดมงคลวรคุณวิปัสสนา จ.เชียงราย///
ครูบาสีหราช วัดมงคลวรคุณวิปัสสนา ตั้งอยู่เลขที่ ๑๒๗ หมู่ ๔ ต.เม็งราย อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย ถือว่าเป็นสำนักสักยันต์ที่มีชื่อเสียงอันดับต้นๆ ของภาคเหนือ โดยมีลูกศิษย์ทั้งชาวไทยและต่างประเทศไปให้ครูบาสีหราชลงยันต์จำนวนมาก

นอกจากความสนใจในพระพุทธศาสนา และเรื่องราวเกี่ยวกับวิชาคาถาอาคมมาแต่เด็ก เนื่องด้วยโยมตาของพระครูบาสีหราชเป็นผู้ที่มีวิชาอาคมด้านรักษาคนป่วยจากการถูกผีโป่ง หรือ โดนคุณไสย ในวัยเด็กพระครูบาสีหราชจึงมักจะเห็นผู้คนมาขอความช่วยเหลือจากโยมตาของท่านอยู่บ่อยๆ พระครูบาจึงมีความเชื่อและศรัทธาจึงใฝ่หาวิชาอาคมแอบดูแอบมองการทำพิธีต่างๆ ของผู้ใหญ่อยู่ตลอด

ในวัยเด็กนั้น พระครูบาเป็นคนชอบพระสงฆ์มาก เวลามีพระธุดงค์มาพักที่ป่าช้าหลังหมู่บ้าน พระครูบาก็จะชวนโยมพ่อกับโยมแม่นำน้ำปานะไปถวายอยู่ตลอด พระมหาเถระครูบาอาจารย์ท่านแรกที่พระครูบาเคารพนับถือและศรัทธามากๆ และเป็นพระสงฆ์ที่พระครูบาคิดอยากทำอยากปฏิบัติเหมือนท่าน (ความคิดในวัยเด็กขณะนั้น) คือพระครูบามนตรี หรือ พระครูวิฑิตพิพัฒนาทร วัดพระธาตุสุโทนมงคลคีรี อ.เด่นชัย จ.แพร่ ที่พระครูบาได้รู้จักพระครูบามนตรีเพราะว่าลูกชายของลุงผู้เป็นพี่ชายของโยมแม่ได้บวชเณรและร่ำเรียนวิชาทางธรรม

วัดพระธาตุสุโทน พระครูบาก็ได้ไปร่วมงาน จึงได้เห็นวัดวาอารามที่สวยงาม สงบ สะอาด จึงเกิดปีติอยากจะบวชเป็นพระแต่อายุยังไม่ถึงเกณฑ์ที่จะบวช จึงต้องเฝ้ารอให้เรียนจบชั้นประถมศึกษาปีที่ ๖ เมื่อพระครูบาอายุ ๑๑ ขวบ โยมพ่อกับโยมแม่เห็นว่าพระครูบาอยากจะบวชอยู่วัดจริงๆ จึงนำไปฝากตัวเป็นศิษย์กับพระอาจารย์แดนไทย อนาลโย ซึ่งเป็นเจ้าอาวาสวัดต้นม่วงคีรี อยู่ห่างจากบ้านของพระครูบาประมาณ ๗ กิโลเมตร

พระอาจารย์แดนไทยเป็นพระคณาจารย์สักยันต์ ทำพระ ทำตะกรุด ซึ่งก็ตรงกับสิ่งที่พระครูบาชอบและต้องการศึกษา พระอาจารย์แดนไทยก็เมตตาพระครูบาเป็นอย่างมาก ไม่ว่าพระครูบาจะถามจะสนใจในเรื่องอะไรท่านก็เมตตาสอนทุกอย่าง อย่างเช่น เรื่องการสักยันต์ และการกดพระพิมพ์ต่างๆ เป็นต้น และแล้วพระครูบาก็อยู่กับพระอาจารย์แดนไทยได้เพียง ๓ เดือนเศษ พระอาจารย์แดนไทย อนาลโย ก็มรภาพลง พระครูบาจึงกลับมาอยู่บ้านกับพ่อแม่ตามเดิม

นอกจากนี้แล้ว พระครูบาได้ฝากตัวเป็นศิษย์ของอาจารย์พระมหาประสิทธิ์ (ลูกศิษย์พระครูศิรินันทคุณ หรือ หลวงปู่ครูบาศรีนวล อินทนนฺโท) เจ้าอาวาสวัดช้างค้ำ ท่านพระอาจารย์ก็เมตตารักพระครูบาเป็นอย่างยิ่ง ไม่ว่าพระครูบาจะสนใจในเรื่องในตำราใดๆ พระอาจารย์มหาฯก็สอนก็ชี้แนะ จนถึงขั้นว่ามอบหมายให้พระครูบาทำเทียนสะเดาะเคราะห์เสริมดวงแทนเวลามีผู้มาขอความเมตตาให้ช่วยและเวลาไปทำพิธีต่างๆ ก็มักจะพาพระครูบาไปด้วยอยู่เสมอๆ

ครูบาสีหราช พูดไว้อย่างน่าคิดว่า "คนที่ไม่รู้คิดว่าการสักยันต์เป็นเรื่องของไสยศาสตร์ แต่แท้ที่จริงแล้วอักขระเลขยันต์ล้วนเป็นตัวธรรมที่โบราณาจารย์คิดค้นขึ้นทั้งสิ้น ทุกอักขระเลขยันต์สามารถแปลเป็นความหมายได้ทั้งสิ้น สิ่งหนึ่งที่เป็นอุปเท่ห์ของการสักยันต์คือ ยันต์จะแสดงพุทธานุภาพได้นั้น คนต้องรักษาศีลให้ได้ก่อน โดยเฉพาะศีล ๕"
นักธรรมชั้นเอกและร่ำเรียนวิชาอาคม
"สีหราช จิระวณิชย์ศิริกุล" เป็นชื่อและสกุลเดิมของครูบาสีหราช เกิด วันพุธที่ ๒๐ มิถุนายน พุทธศักราช ๒๕๓๓ ณ บ้านเลขที่ ๑ หมู่ ๖ ต.บ่อเหล็กลอง อ.ลอง จ.แพร่

เมื่อพระครูบาอายุได้ ๑๒ ปี จึงกราบลาโยมพ่อโยมแม่บรรพชาเป็นสามเณร ณ วัดหลวงล้อมแรด อ.เถิน จ.ลำปาง โดยมี พระครูคัมภีร์ธรรมสุนทร เจ้าคณะตำบลล้อมแรด เขต ๒ เจ้าอาวาสวัดท่านาง เป็นพระอุปัชฌาย์ เมื่อบรรพชาอยู่ปฏิบัติธรรมครบ ๗ วัน แล้ว โยมพ่อโยมแม่ก็พาพระครูบามาฝากเป็นศิษย์ พระครูสุธรรมจินดากร วัดเหล่าน้อย อ.เถิน จ.ลำปาง ท่านได้เมตตาพระครูบามาก ได้ถ่ายทอดสรรพวิชาความรู้ต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นการเขียนอักขระธรรมล้านนาและการเทศน์คัมภีร์แบบล้านนา ตลอดจนถึงบทสวดมนต์ทุกบท และการทำตะกรุดโทน มหาอุด คงกระพันชาตรี

พระครูบาเล่าให้ฟังว่า ขณะศึกษาเล่าเรียนอยู่ที่วัดเหล่าน้อยนั้น พระครูบาได้ตั้งใจร่ำเรียนวิชาทุกอย่าง แอบจำการบริหารการทำงานทุกอย่างของหลวงพ่อพระครูฯ เพราะพระครูบาคิดเสมอว่า สักวันเราจะได้เป็นเจ้าอาวาสวัดใดวัดหนึ่ง หากถึงวันนั้นมาเราจะทำอะไรไม่เป็น พระครูบาได้บวชเป็นเณรศึกษาพระธรรมวินัยจนสอบได้นักธรรมชั้นตรี ก็กราบลาหลวงพ่อพระครูสุธรรมจินดากรไปศึกษาต่อที่ จ.ลำพูน

ที่ จ.ลำปาง จำพรรษาที่นั้นอยู่ ๑ ปี ก็ได้พบกับพระอาจารย์ทองสุข ซึ่งท่านเป็นพระธุดงค์ไปตามป่า ท่านก็เมตตาจึงรับพระครูบาเป็นศิษย์ถ่ายทอดวิชาอาคม ด้านการช่วยเหลือญาติโยมการอาบน้ำมนต์ ถอนของแก้คุณไสย ให้จนหมด พระอาจารย์ทองสุขได้พาพระครูบาไปฝากตัวเป็นศิษย์กับพ่อหมอธนมิตร ซึ่งเป็นครูบาอาจารย์ฝ่ายฆราวาส ท่านเป็นชาวเขมร

จากนั้นพระครูบาก็เดินทางมาอาศัยอยู่ที่วัดสันสะลีก อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย สถานที่แห่งนี้เป็นป่าช้า เงียบ สงบ วิเวกมากเหมาะแก่การฝึกจิตเป็นอย่างยิ่ง ขณะนั้นพระครูบาอายุได้เพียง ๑๘ ปี ซึ่งยังเป็นเณรอยู่ เหมือนดั่งเทวดาท่านทราบ แม้พระครูบาจะไม่แสดงตนไม่บอกใครว่ามีวิชาติดตัวอยู่ แต่ก็มีญาติโยมมาขอความช่วยเหลือจากพระครูบาอยู่ตลอด ไม่ว่าจะมาขอน้ำมนต์ ถูกคุณผีคุณคน บูชาเทียนเสริมดวง หรือค้าขาย มีมาตลอด

เมื่อยังเป็นเณร พระครูบาก็ไปจัดรายการวิทยุเผยแผ่ธรรมะเทศน์ออกสถานีวิทยุทุกเช้า ชาวบ้านผู้เฒ่าผู้แก่แถวนั้นจะชอบพระครูบามาก เพราะติดใจในการพูดจาสำนวนการเทศน์ของพระครูบา

เริ่มสร้างวัดเมื่ออุปสมบทได้ ๑ เดือน

พระครูบาอุปสมบทได้ ๑ เดือน กับ ๒๕ วัน ก็ได้รับนิมนต์จากคณะศรัทธาวัดสันสะลีก อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย ให้อยู่ดูแลช่วยสร้างวัด พระครูบาเล่าให้ฟังว่า จริงๆ แล้วยังไม่อยากรับภาระหน้าที่อะไร อยากจะไปเรียนทางโลกให้จบเสียก่อน แต่มานึกถึงคำครูอาจารย์ได้บอกไว้ว่า “บ้านที่เคยอยู่ อู่ที่เคยนอน หมอนที่เคยหนุน พระคุณที่เคยพึ่งพาอาศัย อย่าได้รอเวลารอโอกาสที่จะตอบแทนคุณ” พระครูบาจึงเริ่มการพัฒนาวัดสันสะลีก อ.พญาเม็งราย จ.เชียงราย

โดยใช้ทั้งปัจจัยส่วนตัว ด้วยการทำวัตถุมงคล กฐิน และผ้าป่าในแต่ละปี เรื่อยมา จากวัดที่เป็นป่าช้าน่ากลัวมาก จนกลายเป็นวัดที่น่าอยู่ พระครูบาเริ่มก่อสร้างอุโบสถ ปรับปรุงกุฏิ สร้างโรงครัว สร้างโรงเก็บของ สร้างลานปฏิบัติธรรม สร้างพระทันใจ หน้าตัก ๔ เมตร ปรับปรุงภูมิทัศโดยรอบวัด ใช้เวลาอยู่ ๕ ปี สิ้นงบประมาณไป ๑๐,๘๙๐,๐๐๐ บาท

พระครูบาสีหราช จึงนึกคิดอยู่เสมอๆ ว่า มีโอกาสมีบารมีเมื่อไหร่อยากจะสร้างวัดถวายพระพุทธศาสนาและเชิดชูบุญคุณครูอาจารย์ที่ได้อบรมบ่มนิสัยทำให้พระครูบาเป็นคนที่มีประสิทธิภาพยืนอยู่ในสังคมได้ เมื่อมีโอกาสจึงสร้างวัดถวายเป็นพุทธบูชา โดยตั้งชื่อว่า วัดมงคลวรคุณ วิปัสสนา ประธานสร้างโดย พระเดชพระคุณพระครูปลัดสุวัฒนมงคลวรคุณ (หลวงพ่อรักษ์ อนาลโย) ดำเนินงานก่อสร้างโดย พระใบฎีกาสีหราช วิสุทธิเมธี (พระครูบาสีหราช หมื่นยันต์) เริ่มดำเนินการสร้างวันที่ ๑๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๘ วัดมงคลวรคุณ วิปัสสนา (วัดสุทธาวาส วิปัสสนา สาขา ๑) หรือวัดหลวงพ่อรักษ์ ๓๐ ทัศ มีเนื้อที่ทั้งหมด ๙ ไร่เศษ
ราคาปัจจุบัน
-
จำนวนผู้เข้าชม
3907 ครั้ง
สถานะ
ขายแล้ว
โดย
ชื่อร้าน
อาร์ทตลาดโพธิ์
URL
เบอร์โทรศัพท์
081-0709705
ID LINE
@art222888
บัญชีธนาคารยืนยันตัวตน
1. ธนาคารไทยพาณิชย์ / 388-2-23308-9




กำลังโหลดข้อมูล

หน้าแรกลงพระฟรี